วันพุธที่ 5 ตุลาคม พ.ศ. 2554

แบบทดสอบอัตราส่วนและร้อยละ





แบบทดสอบเรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จำนวน 10 ข้อ









วิชา ค22101 ระดับ มัธยมศึกษาปีที่ 2

เรื่อง อัตราส่วนและร้อยละ จำนวน 10 ข้อ

โดย อาจารย์วัลภา ทองแดง โรงเรียนกลันทาพิทยาคม

คำสั่ง เลือก หรือ เติมคำตอบที่ถูกต้องที่สุด


ข้อที่ 1)
ถ้าอัตราส่วน 2 :4= 8: X X มีค่าเท่ากับข้อใด

   24

   16

   14

   12


ข้อที่ 2)
อัตราส่วนในข้อใดเป็นอัตราส่วนเท่ากัน

    3 : 5 = 6 : 10

    3 : 6 = 12 : 15

    4 : 8 = 20 : 24

    6 : 5 = 18 : 10


ข้อที่ 3)
ถ้าอัตราส่วน 2 :3 = 10 : X X มีค่าเท่ากับข้อใด

   12

   18

   17

   15


ข้อที่ 4)
อัตราส่วนในข้อใดเป็นอัตราส่วนไม่เท่ากัน

    8 : 4 = 16 : 8

    3 : 9 = 9 : 27

    4 : 8 = 12 : 16

    5 : 10 = 25 : 50


ข้อที่ 5)


   

   

   

   





อัตราส่วนและร้อยละ

 

อัตราส่วนที่เท่ากัน


 อัตราส่วนจะเท่ากันได้ เมื่อ เราทำการคูณ หรือ หาร อัตราส่วนนั้น ในจำนวนที่เท่ากัน

 1.  กรณี เมื่ออัตราส่วนที่ได้มาเป็น อัตราส่วนอย่างต่ำ  โดยทั่วไปเรามักใช้การคูณ 

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้

                    เช่น  อัตราส่วน       1 : 2            สามารถเขียนรูปได้ดังนี้


อัตราส่วน

                                  เขียนได้เป็น อัตราส่วน ได้ เท่ากับ            1ส่วน2



   เมื่อเรา นำ      2    มาคูณ         1ส่วน2   จะได้ ว่า     คูณ 2 ให้อัตราส่วน     =     อัตราส่วนที่เท่ากัน

อัตราส่วน อัตราส่วนที่เท่ากัน

 จากรูปจะเห็นได้ว่า การแบ่งส่วนย่อยมากขึ้น แต่ พื้นที่เท่ากัน    


1ส่วน2        =      อัตราส่วนที่เท่ากัน


      เมื่อเรา นำ      2    มาคูณ   อัตราส่วนที่เท่ากัน       จะได้ ว่า       อัตราส่วนเท่ากัน

อัตราส่วนเท่ากัน


  เมื่อเรา นำ      2    มาคูณ     อัตราส่วนเท่ากัน          จะได้ ว่า      อัตราส่วนเท่ากัน

อัตราส่วนเท่ากัน

  เมื่อเรา นำ      2    มาคูณ       ratio       จะได้ ว่า        ratio

ratio


   เมื่อเรา นำ      2    มาคูณ       ratio        จะได้ ว่า       ratio

ratio

   ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการคูณด้วย  2 ทั้งเศษ จะไม่ทำให้ค่า ของพื้นที่แรงเงาในรูปไม่เปลี่ยนแปลง
   จำนวนพื้นที่ยังเท่าเดิมเสมอ             เพราะ  การคูณ  2 ทั้งเศษ และส่วน     มีค่าเท่ากับ
   คูณด้วยค่าคงที่ เท่ากับ 1      เพราะ    ratio    ดังนั้น

  จากรูป ด้านบน พอจะได้คำตอบว่า            อัตราส่วน          มีค่าเท่ากันเสมอ


_________________________________________________________________________

2.   กรณี เมื่ออัตราส่วนที่ได้มาเป็น ไม่ เป็นอัตราส่วนอย่างต่ำ  โดยทั่วไปเรามักใช้การหาร

    ดังตัวอย่างต่อไปนี้

  เช่น      ให้หา อัตราส่วนที่เท่ากันโดยการหาร

               อัตราส่วน       4 : 10         เขียนได้เป็น         อัตราส่วน       เราจะทำการหารดังนี้



ratio



                        =         ratio

ratio

                            =           ratio

   ดังนั้นจะเห็นได้ว่าการหาร   ด้วย  2 ทั้งเศษ จะไม่ทำให้ค่า ของพื้นที่แรงเงาในรูปไม่เปลี่ยนแปลง

   จำนวนพื้นที่ยังเท่าเดิมเสมอ             เพราะ  การหาร  2 ทั้งเศษ และส่วน     มีค่าเท่ากับ

   คูณด้วยค่าคงที่ เท่ากับ 1      เพราะ    ratio    ดังนั้น

 

  จากรูป ด้านบน พอจะได้คำตอบว่า          ratio                มีค่าเท่ากันเสมอ

  

            _________________________________________________________________________